Preloader

Mini Nutrition Assessment

ตอบคำถามการคัดกรอง หากคะแนนรวมเท่ากับหรือน้อยกว่า 11 ให้ตอบคำถามต่อในส่วนประเมินภาวะโภชนาการ

การคัดกรอง

เลขประจำตัวประชาชน
ชื่อ-สกุล
เพศ
ชาย หญิง
อายุ
น้ำหนัก
ส่วนสูง
วันที่

A. ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมารับประทานอาหารได้น้อยลง เนื่องจากความอยากอาหารลดลง มีปัญหาการย่อย การเคี้ยว หรือปัญหาการกลืนหรือไม่
รับประทานอาหารน้อยลงอย่างมาก
รับประทานอาหารน้อยลงปานกลาง
การรับประทานอาหารไม่เปลี่ยนแปลง
B. ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา น้ำหนักลดลงหรือไม่
น้ำหนักลดมากกว่า 3 กิโลกรัม
ไม่ทราบ
น้ำหนักลดระหว่าง 1-3 กิโลกรัม
น้ำหนักไม่ลดลง

C. สามารถเคลื่อนไหวได้เองหรือไม่
นอนบนเตียง หรือ ต้องอาศัยรถเข็นตลอดเวลา
ลุกจากเตียงหรือรถเข็นได้บ้าง แต่ไม่สามารถไปข้างนอกได้เอง
เดินและเคลื่อนไหวได้ตามปกติ
D. ใน 3 เดือนที่ผ่านมามีความเครียดรุนแรงหรือป่วยเฉียบพลันหรือไม่
มี
ไม่มี

E. มีปัญหาทางจิตประสาท(Neuropsychological problems) หรือไม่
ความจำเสื่อม หรือ ซึมเศร้า อย่างรุนแรง
ความจำเสื่อมเล็กน้อย
ไม่มีปัญหาทางประสาท
F. ดัชนีมวลกาย (BMI) = น้ำหนัก(กก.)/[ส่วนสูง(ม.)]2
BMI น้อยกว่า 19
BMI ตั้งแต่ 19 แต่น้อยกว่า 21
BMI ตั้งแต่ 21 แต่น้อยกว่า 23
BMI ตั้งแต่ 23 ขึ้นไป (3 คะแนน)


คะแนนการคัดกรอง ( /14 คะแนน)



12-14 มีภาวะโภชนาการปกติ
8-11 มีความเสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร
0-7 ขาดสารอาหาร

การประเมินภาวะโภชนาการ

G. ช่วยเหลือตัวเองได้(ไม่อยู่ในการดูแลของสถานพักฟื้นคนชรา หรือโรงพยาบาล)
ใช่
ไม่ใช่
H. รับประทานยามากกว่า 3 ชนิด ต่อวัน
ใช่
ไม่ใช่

I. มีแผลกดทับหรือแผลที่ผิวหนังหรือไม่
ใช่
ไม่ใช่
J. ผู้ป่วยรับประทานอาหารเต็มมื้อ ได้กี่มื้อต่อวัน
1 มื้อ
2 มื้อ
3 มื้อ

K. ผู้ป่วยรับประทานอาหารจำพวกโปรตีนเหล่านี้บ้างหรือไม่
ใช่ ไม่ใช่ นมหรือผลิตภัณฑ์จากนม(เช่น ชีส โยเกิร์ต) อย่างน้อย 1 หน่วยบริโภค/วัน
ใช่ ไม่ใช่ ถั่วหรือไข่ อย่างน้อย 2 หน่วยบริโภค/สัปดาห์
ใช่ ไม่ใช่ เนื้อสัตว์ ปลา หรือสัตว์ปีก ทุกวัน

ถ้าตอบไม่ใช่ทุกข้อ หรือใช่เพียง 1 ข้อ
ถ้าตอบใช่ 2 ข้อ
ถ้าตอบใช่ 3 ข้อ
L. ผู้ป่วยรับประทานผักหรือผลไม้อย่างน้อย 2 หน่วยบริโภคต่อวัน
ไม่ใช่
ใช่

M. ดื่มเครื่องดื่ม(น้ำ น้ำผลไม่ กาแฟ ชา นม หรืออื่นๆ) ปริมาณเท่าไหร่ต่อวัน
น้อยกว่า 3 ถ้วย
3 - 5 ถ้วย
มากกว่า 5 ถ้วย
N. ความสามารถในการช่วยเหลือตัวเองขณะรับประทานอาหาร
ไม่สามารถรับประทานอาหารได้เอง
รับประทานอาหารได้เองแต่ค่อนข้างลำบาก
รับประทานอาหารได้เอง / ไม่มีปัญหา

O. ผู้ป่วยคิดว่าตัวเองมีภาวะโภชนาการเป็นอย่างไร
ขาดสารอาหาร
ไม่แน่ใจว่ามีภาวะโภชนาการเป็นอย่างไร
ไม่ขาดสารอาหาร
P. เมื่อเทียบกับคนในวัยเดียวกัน ผู้ป่วยคิดว่าสุขภาพของตนเป็นอย่างไร
ด้อยกว่า
ไม่ทราบ
พอกัน
ดีกว่า

Q. เส้นรอบวงแขน (Mid-arm circumference; MAC) หน่วยเป็นเซนติเมตร
MAC น้อยกว่า 21
MAC 21 ถึง 22
MAC ตั้งแต่ 22 ขึ้นไป
R. เส้นรอบวงน่อง (Carf circumference; CC) หน่วยเป็นเซนติเมตร
CC น้อยกว่า 31
CC ตั้งแต่ 31 ขึ้นไป


ผลการประเมินภาวะโภชนาการ ( /30 คะแนน)


24-30 มีภาวะโภชนาการปกติ
14-23.5 มีความเสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร
น้อยกว่า 17 ขาดสารอาหาร

เกี่ยวกับเรา โภชนศาสตร์
โรงพยาบาลเจาะไอร้อง

        - จัดอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการ ถูกต้องเหมาะสมกับสภาพผู้รับบริการ ประหยัด โดยยึดหลักสุขาภิบาลอาหาร และอาหารฮาลาล (วิทยาศาสตร์รับรองและศาสนารองรับ)
       - บริการรวดเร็วทันเวลาด้วยมิตรภาพอันดีเป็นที่พึงพอใจของผู้รับบริการ
       - เป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้และศึกษางานเกี่ยวกับงานด้านโภชนาการ
       - จัดบริการอาหาร งานเลี้ยงตามที่โรงพยาบาลเจาะไอร้องมอบหมาย
       - สนับสนุนการทำงานวิจัย ที่เกี่ยวกับงานด้านโภชนาการ
       - คัดกรองและประเมินภาวะโภชนาการของผู้ป่วย วิเคราะห์ วางแผน การให้โภชนบำบัดทางการแพทย์ ให้คำแนะนำ ปรึกษา ฟื้นฟู ภาวะโภชนาการ รวมทั้งการดัดแปลงอาหารเฉพาะโรคให้เป็นไปตามแผนการรักษาแพทย์ เพื่อให้เหมาะกับโรคที่เป็น


รายละเอียดเพิ่มเติม